ประวัติศาสตร์งานดนตรี
เนื่องด้วยมนุษย์เป็นสัตว์ส ังคมอยู่แล้ว คงเป็นที่ปฏิเสธไม่ได้ว่าคน เราเวลาทำกิจกรรมประจำวัน ต้องมีการปฏิสัมพันธ์กับผู้ อื่นเป็นประจำ ไม่ว่าจะเป็นการกินข้าว ทำงาน ดูหนัง หรือแม้กระทั่ง ไปดูคอนเสิร์ต วันนี้ Greedgigs ขอนุญาติเล่าความเป็นมาของก ารจัดงานคอนเสิร์ตตั้งแต่อด ีตกาลนะครับ
คำว่า Festival กำเนิดขึ้นครั้งแรกใรศตวรรษ ที่ 16 โดยมีรากศัพท์มาจากคำว่า Feast ซึ่งแปลว่า งานเลี้ยง หรืองานฉลอง
คำว่า Festival กำเนิดขึ้นครั้งแรกใรศตวรรษ
• จริงๆ แล้ว ตามพงศาวดาร (เหรอ) ได้กล่าวไว้ว่า จริงๆแล้วมันมีมาตั้งแต่สมั ยกรีกโรมันโบราณแล้วด้วย เมื่อ 6 ศตวรรษก่อนคริสตสักราช เป็นการแข่งขันการเล่นดนตรี ใน เหมือนกับกีฬาทั่วๆไป ใน Pythian Games (เหมือนกับ Olympic Games).
หรือแม้กระทั่งปีในปี คศ.ที่ 1000 ก็มีการจัดงานเต้นทที่ชื่อว ่า Mods ที่ประเทศสกอตแลนด์ หรือ Feis ที่ประเทศไอร์แลนด์
• พอๆ เรามาเล่าถึงเรืองเที่ค่อนข ้าง เกี่ยวกับปัจจุบันบ้างดีกว่ า
งานเทศกาลดนตรีจริงๆ แล้วมีแต่คนคิดว่ามันคงมีมา แต่ที่ยุโรป แน่ๆ แต่จริงๆแล้วมีงานเทศกาลดนต รีที่จัดต่อกันยาวนานที่สุด ด้วยนะ อยู่ที่ประเทศอินเดีย
คือชื่องาน Tyagaraja Aradhana ซึ่งเป็นงานเทศกาลดนตรีที่เ กียวกับเพลงอินเดียคลาสสิค ซึ่งจัดมาตั้งแต่ปี 1847 หรือจัดมานานกว่า 171 ปีแล้วว เยดโด้ จัดไปได้ไงวะเนี่ย
คือชื่องาน Tyagaraja Aradhana ซึ่งเป็นงานเทศกาลดนตรีที่เ
• ส่วนงานเทศกาลดนตรีของฝั่งต ะวันตกที่มีการบันทึกไว้ งานแรกจะเป็นงาน Newport Jazz Festival (ปัจจุบันยังคงจัดอยู่) ซึ่งเป็นงานดนตรี Jazz ที่จัดขึ้นที่ Rhode island(อเมริกา) ในปี 1952 ซึ่งมีผู้ชมถึง 13,000 คนเลยทีเดียว โดยมีการเล่นเพลง Jazz ,Blues และ Gospel มีศิลปินอย่าง Billie Holiday, Ella Fitzgerald และ Dizzy Gillespie มาร่วมแสดง
ทั้งนี้ที่งาน Newport นี้เองได้เป็นการจัดการโดยก ลุ่มวัยรุ่นที่ชอบงานครื้นเ ครง จึงเกิดความคิดที่ให้มีการต ั้งเต้นท์ หรือนอนในสถานที่โรงจอดรถ เพื่อนที่จะได้ให้ผู้ชมมาอย ู่ด้วยกันและ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นทางดน ตรีด้วยกัน
หลังจากนั้นไม่เกิน 10 ปีก็มีงานลูกคลอดออกมาชื่อว ่า Newport Folk Festival ในปี 1959 ซึ่งงานดนตรีส่วนใหญ่ก็จะเป ็นแนวโฟลค์ ฟังสบายๆ แต่แล้วมีอยู่ปีหนึ่งซึ่งคื อปี 1965 ซึ่ง Bob Dylan ศิลปินชื่อดังในขณะนั้น และได้เป็น Headliner ได้อยากลองเล่น กีตาร์ไฟฟ้าตอนแสดงโชว์ขแงเ ค้า ซึ่งผลตอบรับก็คงเป็นที่งงข องคนดูว่ามึงเล่นเหี้ยอะไรน ี่ คนจะฟังเพลงโฟลค์ เหมือนเป้นการแนะนำดนตรี RocknRoll ให้กับเราๆ ให้เรารู้จักกันก่อน
• หลังจากที่ RocknRoll กำลังดัง และยังไม่มีงานไหนที่นำเพลง RocknRoll มาจัดสักที ก็มีการจัดงาน The Monterey Pop Festival ขึ้นมา ที่ California ในปี 1967 โดยมีศิลปินอย่าง Janis Joplin มThe Who หรือ Ravi Shankar และ ที่ขาดไม่ได้คือ Jimi Hendrix ที่ได้บรรเลงเพลงร๊อคแอนด์โ รล์อย่างเมามันในตอนนั้น โดยถือว่าเป็นการแจ้งเกิด Jimi เลยก็ว่าได้ และประวัติศาสตร์ในวงการร๊อ คเลยก็ว่าได้ ในงานมีผู้เข้าชมร่วมกว่า 90000 คนเลยทีเดียว
หลังจากนั้นอีก อีกไม่นาน หน้าประวัติศาสตร์เทศกาลดนต รีก็ต้องจารึกไว้ เพราะได้มีงานเทศกาลดนตรีอั นใหม่ที่มีชื่อว่า Woodstockจัดขึ้นที่ NewYork ในปี 1969 เป็นงานดนตรีที่สามารถรวบรว มหนุ่มสาวทั่วอเมริกาได้ถึง 500,000 คน อยู่ด้วยกันถึง 3 วัน 3 คืน มีพื้นที่ถึง 600 เอเคอร์ (2.4 ตร.กม.) ฃ ทั้งนี้ ตอนแรกทางเจ้าของงาน ต้องการขายบัตรเพียง 50,000 ใบ แต่สุดท้ายบัตรดันขายได้ถึง 180,000 ใบเลยทีเดียว แต่จนแล้วจนรอด ก็มีคนไหลมาถึง 500,000 คน ที่มีคนหลั่งไหลมาฟังเสียงเ พลง ความรัก และ สันติภาพ ด้วยความโกลาหลของคนที่พรั่ งพลูมาที่งานเยอะขนาดนั้น หลายคนคงคิดว่าน่าจะมีจลาจล เกิดขึ้นแน่ๆ แต่มีผู้เสียชีวิตเพียงแค่ 3 คน โดยไม่ได้มีจากการต่อสู้เลย อีกทั้งยังมีเด็กน้องลืมตาด ูโลกในงาน Woodstock นี้ด้วย โดยมีวงดนตรีอย่าง Joan Baez, Arlo Guthri, The Who, Country Joe, Sly and The Family Stone, Canned Heat, Joe Cocker, Jimi Hendrix Crosby, Stills, Nash and Young The Greatful Dead, The Band, Bloods Sweat and Tears, Creedence Clearwater Revival, Incredible String Band, Johnny Winter, Paul Butterfield, Janis Joplin, Mountain and Keef Hartley, Melanie, Ravi Shankar
เรียกได้ว่ามาอย่างคับคั่งเ ลยทีเดียว ทั้งนี้ยังมีภาพยนต์สารคดีเ กี่ยวกับงาน Woodstock ด้วยนะ เพื่อนๆ ลองไป ดูกัน
เรียกได้ว่ามาอย่างคับคั่งเ
• หลังจากที่เทศกาลดนตรีได้ปร ะสบความสำเร็จที่เมืองลุงแซ ม ,ก็ได้มีการมีการมาเปิดตลาด ที่เมืองผู้ดีบ้าง ในปี 1970 กับเทศกาล Isle of white ที่อยู่ทางตอนใต้ของเกาะอัง กฤษ มี Line up อย่าง Jimi Hendrix ,Cactus ,The door ,The Who ,ซึ่งตอนนั้นถือว่าเป็นงานเ ทศกาบดนตรีที่มีคนไปเยอะที่ สุดในโลก ถึง 700,000 กว่าคนเลยทีเดียว (สถิติอยู่ที่งาน DONAUINSELFEST ที่เมือง Vienna ออสเตรีย ในปี 2015 กับผู้เข้าร่วมกว่า 3.3 ล้านคน ศิลปินกว่า 2000 คน ตลอด 3วัน3 คืน)
• แต่แล้ว 2 ผู้ชมจากในงาน Isle of Wight นี่แหละที่ได้เปิดโลกกับงาน เทศกาลดนตรีแห่งแรกของเกาะอ ังกฤษ อย่าง Andrew Kerr และ Michael Eavis ก็ได้มีความคิดว่าอยากจะมีง านเทศกาลเป็นของตัวเอง Glastonbury จึงได้เกิดขึ้นมาจากการร่วม มือของเพื่อนทั้งสองคน โดยทั้งนี้ Michael เป็นเจ้าของฟาร์ม และได้คิดค่าตั๋วในตอนนั้นแ ค่ 1 ปอนด์(ตอนนี้ 200 กว่ามั้ง) ตอนนี้งาน Glastonbury ถือเป็นงานที่มีคนอยากไปมาก และเป็นสถานที่ศิลปิน อัลเทอร์เนทีฟ ทั่วโลกที่อยากไป ใครได้ขึ้นเป็น Headliner ถือว่าเป็นรางวัลชีวิตเลยก็ ว่าได้ โดยงาน Glastonbury จะจัดขึ้นช่วงหน้าร้อนของปี โดยจัดขึ้น 3วัน 3 คืน และจะหยุดพักทุก 5 ปี เพราะว่าต้องให้สภาพของฟาร์ มฟื้นฟูเสียหน่อยหลังจากมีก ารเหยียบย่ำมา 5 ปี
นอกจากที่เกาะอังกฤษ ก็ยังมีงานเทศกาลดนตรีอื่นๆ ในยุโรปอีกอย่าง Pinkpop ที่จัดขึ้นที่ ประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยจัดขึ้นในปีเดียวกันกับ Glastonbury เลย งานจะจัดขึ้นทุกวนสำคัญทางศ าสนาอย่าง Pentecost Monday, ในช่วงแรกๆที่จัด มีการแจกหมูย่าง และแอปเปิลฟรีกับผู้ชมดวยนะ
หลังจากนั้น เทศกาลดนตรีร๊อคก็เริ่มขยาย ไปเรื่อยๆ ในช่วงปี 1980 ไม่ว่าจะเป็นงาน Roskild ,Bubershoot หรือ Lollapalooza
หรือในปี 1985 ได้มีงาน initail Rock ที่เมือง Rio de janeiro ที่มีคนเข้างานถึง 1.5 ล้านคน ที่มี headliner อย่าง Queen และ ACDC
หรือในปี 1985 ได้มีงาน initail Rock ที่เมือง Rio de janeiro ที่มีคนเข้างานถึง 1.5 ล้านคน ที่มี headliner อย่าง Queen และ ACDC
• และก็มาถึงจุดเปลี่ยนอีกอย่ างนึงของงานเทศกาลดนตรีคือ งานอิเลคโทรนิค ตอนนั้นเพลงอิเลคโทรนิคกำลั งบูม โดยมีอิทธิพลมาจากอเมริการอ ย่าง แนว house จากเมือง Chicago และ techno จาก Detriot ได้เข้ามาเผยเพร่ในแถบยุโรป พอดีกับตอนนั้นที่ กำแพงBerlin ได้พังทลายลง จึงทำให้เมืองได้เปิดมากขึ้ น ได้รับวัฒนธรรมต่างๆเข้ามา โดยเฉพาะทางด้านดนตรี จึงมีการกำเนิดของงานดนตรีอ ิเลคทรอนิคเกิดขึ้นครั้งแรก อย่าง Loveparade ที่เปิดเพลง Trance/House/Techno ในปี 1989 ที่เมือง Berlin จัดขึ้นกลางถนน มีผู้ชมเข้าร่วมแค่ 150 คน (ล่าสุดมีคนเข้าร่วมงานถึง 800,000 คนในปัจจุบัน)
หลังจากนั้นก็มีการกำเนิดเท ศกาลอิเลคโทรนิคต่างๆ อย่าง KaZantip ที่คาบสมุทรไครเมีย ประเทศยูเครนในปี 1992 จัดถึงสามสัปดาห์เลยทีเดียว และมีดีเจกว่า 300 คนมาร่วมแสดง
หลังจากนั้นก็ถือเป็นจุดกำเ นิดของงานเทศกาลดังๆต่างๆ ในช่วงยุค 90 อย่างเช่น Big day out ที่ออสเตรเลีย , Fuji Rock ที่ญี่ปุ่น , Sziget ทีประเทศฮังการี ,Coachella ในแคลิฟอร์เนีย (ตอนแรกมีคนเข้าร่วม 10,000 คน เพื่อที่จะไปดู Beck, Jurassic 5 และ Rage Against the Machine )
รวมถึงมีการย้ายเทศกาลดนตรี ไปไว้ที่เมืองอื่นบ้าง (ใครคิดไม่ออก ก็เหมือนงาน Ultra ที่แทบจะมีทุกประเทศเลย) เริ่มแรกที่งาน The Vans Warped Tour
ในเรื่องของ Production ตอนแรกงานเทศกาลต่างๆ ก็โฟกัสที่เรื่องของดนตรีอย ่างเดียว แต่หลังจากที่มีเทศกาบอื่นผ ุดขึ้นมาเรื่อยๆ ทำให้หลายเทศกาบจำเป็นต้องส ร้างความแตกต่างให้กับตัวเอ ง เริ่มที่งาน Coachella ที่ลงทุนทำในเรื่อง Backdrop เรื่องไฟ เรื่อง Production ให้ดีขึ้น จนดังในเรื่อง production
หรือแม้กระทั่ง มีธีมเป็นงานการกุศล อย่าง งาน Live Aid and Earth Aid
หรือแม้กระทั่ง มีธีมเป็นงานการกุศล อย่าง งาน Live Aid and Earth Aid
• ช่วงปลายปี 1999 ก็ได้มีการกำเนิดเทศกาล EDM งานแรกขึ้นอย่าง Electric Daisy Carnival ในเมือง Los Angeles ปี 1999 ซึ่งก็เป็นที่โด่งดังได้ง่า ยเพราะว่าด้วยความที่เป็นเน วเพลงที่ค่อนข้างตลาด ฟังง่าย จึงได้มีงานอื่นๆ ตามมาในช่วง ปี 2000 จนถึงปัจจุบัน ตอนนี้ฏมีทุกแนว ไม่ว่าจะเร็กเก้ หรือ ฮิปฮอป ก็เริ่มผุดขึ้นมาเรื่อย
• ส่วนที่ประเทศไทย เทศกาลแรกที่จัด ก็คงจะเป็น Big Mountain Music festival ที่จัดขึ้นในปี 2010 ที่เโบนันซ่า เขาใหญ่ จำนวนผู้ชมกว่า 25,000 คน ศิลปินกว่า 130 ชีวิต จัดแค่ 2 วัน ถือว่าเป็นส่วน Festival ที่ริเริ่ม หลังจากนั้นก็เริ่มมีงานเทศ กาลผุดมาอีกไม่ว่าจะเป็น
– Overcoat
– WARP
– S2O
– Waterzonic
– Dropzone
– Huahin Jazz Festival
– อีสานเขียว
– MAYA Music Festival
– Wonderfuit
– Overcoat
– WARP
– S2O
– Waterzonic
– Dropzone
– Huahin Jazz Festival
– อีสานเขียว
– MAYA Music Festival
– Wonderfuit
อ้างอิง
https://www.youtube.com/watch?v=xVWs0ti0J90
https://www.youtube.com/watch?v=MR7CPbS3000https://www.greedgigs.com/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5/
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น